โรคไวรัสด่างวงแหวนในมะละกอ (Papaya Ringspot
virus) เป็นโรคประจำตัวของมะละกอ ส่วนใหญ่มะละกอจะตายด้วยโรคนี้ โรคนี้ มักจะพบในแปลงช่วงมะละกอเริ่มออกดอกออกผล
แต่ก็ก็มีเหมือนในบางพื้นที่ ที่โรคนี้เริ่มระบาดตั้งแต่ ต้นมะละกออายุ 2-3 เดือน
พาหะนำโรค: โรคนี้มีพาหะนำโรคคือ
แมลงปากดูด หรือที่พวกเราหลายคนรู้จักกันคือ พวกเพลี้ยต่าง ๆ นั่นเอง เช่น
แมลงหวี่ขาว เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ โรแดง และแมลงพาหะนำโรคได้มากที่สุด คือ
แมลงหวี่ขาว
ลักษณะอาการของโรคไวรัสด่างวงแหวนมะละกอแบบต่างๆ
อาการใบหงิก ใบงอ เริ่มเป็นด่างเหลืองๆ
อาการไวรัสด่างวงแหวน ชนิดรุนแรง
ปกติอาการไวรัสด่างวงแหวน มักจะแสดงอาการกับต้นมะละกอ ที่กำลังติดดอก ออกผล หรือ หลังปลูก ประมาณ 3-5 เดือน
แต่ก็มีที่อาการไวรัส แสดงอาการตั้งแต่ต้นเล็กๆ หรือประมาณ 2-3 เดือนเท่านั้น แสดงว่า เป็นไวรัสด่างวงแหวนชนิดรุนแรง
อาการก้านช้ำ
อาการจุดเริ่มต้นของการเป็นไวรัสด่างวงแหวนในมะละกอ
ให้สังเกตอาการมะละกอที่เราปลูกให้ดี ถ้าแสดงอาการก้านช้ำๆ แสดงว่ามะละกอในแปลงของเราจะเริ่มเป็นไวรัสแล้ว แต่ยังไม่รุนแรง แต่อีกไม่นาน อาการต่อไปก็จะเกิด คือ ใบหงิกงอ และใบเริ่มด่างเป็นวงแหวน
อาการหงิกงอชนิดรุนแรง
อาการไวรัสชนิดนี้มักเกิดกับมะละกอ ช่วงติดดอกออกผล หลักปลูกลงแปลงประมาณ 5
เดือน เป็นอาการไวรัสชนิดรุนแรง สามารถลุกลามได้อย่างรวดเร็ว
ถ้าเห็นอาการแบบนี้ในแปลง 1 -2 ต้น ให้ตัดทิ้งทันทีแล้วรีบ สร้างภูมิคุ้มกันไวรัส
ให้กับ มะละกอทั้งแปลง ก่อนที่จะลุกลามไปทั่วทั้งแปลง ภายในเวลาอันรวดเร็ว
อาการไวรัสลงลูกมะละกอ
จะมีลักษณะเป็นจุดๆ ที่ผิวลูกมะละกอ ลักษณะออกเป็นลายๆ เหลือตุ๊กแก แต่ไม่มีรอยช้ำหรือรอยบุ๋ม
ลักษณะข้างในเนื้อมะละกอจะแข็งเป็นไตเล็กๆ ทั่วลูก
บางรายที่อาการหนัก รสชาติของมะละกอจะมีรสขม
อาการใบเขียว ยอดอ่อนเหลือง เป็นอาการไวรัส อีกชนิดหนึ่ง เป็นชนิดที่ไม่รุ่นแรงมาก
สามารถแก้ไขให้ยอดกลับมาแตกใหม่แบบไม่เป็นไวรัสได้ หรือถ้า
อาการรุ่นแรงถึงขั้นยอดเน่า ก็ให้ตัดยอดออก บำรุงดูแลรักษา ให้ถูกวิธี
ก็จะแตกยอดใหม่ ไม่เป็นโรคไวรัสด่างวงแหวนได้
วิธีการรักษา :
วิธีการรักษาโรคนี้แบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาดยังไม่มี
ยังไม่พบยาชนิดใดสามารถรักษาโรคไวรัสด่าง วงแหวนในมะละกอได้
วิธีที่ดีที่สุดที่กระทำกันได้ในตอนนี้คือการสร้างภูมิคุ้มกันให้มะละกอตั้งแต่ต้นเล็กๆ
นั่นก็คือป้องกันดีกว่ารักษา เมื่อต้นมะละกอแข็งแรงก็จะไม่ค่อยเป็นโรค
แต่ถ้าเกษตรกรพบโรคนี้ในแปลงมะละกอแล้ว ก็อย่าเพิ่งตกใจให้แก้ไขไปตามขั้นตอน คือถ้าพบมะละกอต้นนั้นมีอาการหนักมาก
ก็ควรตัดทิ้งไปก่อนเพื่อ ป้องกันการระบาดไปยังมะละกอต้นอื่น แต่ถ้าอาการยังไม่หนักมากก็ให้แก้ไขตามตารางที่แนบมาให้
การป้องกันและการแก้ปัญหาไวรัสด่างวงแหวนที่ได้ผล
เราจะต้องใช้กระบวนการหลายๆ อย่างรวมกัน
ไม่ใช่ใช้อย่างใดอย่างหนึ่งแล้วจะได้ผล
เพราะขณะที่มะละกอเป็นไวรัส
ภูมิคุ้มกันต่างๆ ในต้นมะละกอจะลดลงอย่างรวดเร็ว
ในช่วงที่แก้ปัญหาไวรัสมะละกอ เราควรจะต้องหยุดการใช้สารเคมีลงชั่วคราวก่อน
เพราะสารเคมีจะทำให้ภูมิคุ้มกันโรคของมะละกอลดลงอย่างรวดเร็ว
จะทำให้เชื้อราชนิดต่างเข้าแทรกได้ง่าย นอกจากเราจะต้องสร้างภูมิคุ้มกันให้กับต้นมะละกอแล้วเราจะต้องกำจัดเชื้อราด้วย
ฉะนั้นการแก้ปัญหาโรคไวรัสด่างวงแหวนในมะละกอ
ต้องใช้หลักการบริหารจัดการ ใช้หลายวิธีการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายเดียวนั่นคือ
การหยุดการแพร่ระบาดของไวรัสโรคพืช และต้นมะละกอ จะสามารถกลับมา ให้ผลผลิตตามเดิมได้
ชมรมเกษตรอินทรีย์ก้าวหน้า มีประสบการณ์ในการปลูกมะละกอ
และร่วมแก้ปัญหาโรคระบาดในมะละกอกับเกษตรกร มากว่า 10 ปี
เราได้ทดสอบทดลองวิจัยหาแนวทางต่างๆ ในการแก้ปัญหา จนประสบผลสำเร็จ
ต่อไปนี้คือ ขั้นตอนการบริหารจัดการ การแก้ปัญหาเมื่อมะละกอป็นโรคไวรัสด่างวงแหวน
ที่ทดลองใช้มาแล้วอย่างได้ผล
ตารางการดูแลมะละกอเมื่อเป็นไวรัสด่างวงแหวน
ขั้นตอน
|
วิธีการ
|
|
1.
|
เมื่อพบมะละกอเป็นไวรัส
ในแปลง
|
ผสมบล็อก 1 ซองผสม 200 ลิตร
นำไปราดต้นมะละกอที่เป็นไวรัส
โดยใช้บัวรดน้ำตักน้ำยาที่ผสมน้ำแล้วไปราดบริเวณรอบ ๆ ทรงพุ่มประมาณต้นละ 2-3
บัวรดน้ำตามขนาดของทรงพุ่ม ให้ทำทุก ๆ 7 วันติดต่อกันประมาณ 3 ครั้งเพื่อ
ป้องกันการลุกลามไปยังต้นอื่น ถ้าเพิ่งเป็นใหม่ ๆอาการก็จะกลับมาเป็นปกติ
|
2.
|
ปราณฟ้า+นำทาง + บล็อก +เวตาเอ็กซ์ตรา
สร้างภูมิคุ้มกัน
|
ให้ฉีดพ่นวัคซีนพืชปราณฟ้า อัตรา 30 ซีซี.ผสมน้ำ20
ลิตรร่วมกับสารช่วยการดูดซึมนำทาง2 อัตรา 3 ซีซี. ผสมบล็อก 30 กรัม ผสม
สมุนไพรต้านเชื้อราเวตาเอ็กซ์ตราอัตรา 30 ซีซี. ทุก ๆ 5-7 วัน อย่างน้อย 3-5
ครั้ง แล้วคอยสังเกตอาการ เมื่ออาการดีขึ้นดีแล้ว
ให้ฉีดพ่น 10 วันต่อครั้ง
|
3.
|
ใช้สมุนไพรไล่แมลงออกจากแปลง
|
ควรฉีดพ่นสารสมุนไพรไล่แมลงพวกปากดูดโดยเฉพาะแมลงหวี่ขาว
ด้วย ซูซาร์อัตรา 50-100 ซีซี.ผสมน้ำ 20 ลิตร ทุก 5-7 วัน เพื่อไล่แมลงพาหะนำโรคออกจากแปลง
|
4.
|
ฆ่าหญ้า
|
ใช้ยาฆ่าหญ้าชีวภาพฉีดพ่นหญ้าในแปลง
ทำให้แปลงโล่งเตียนเพื่อทำลายที่พักของแมลงพาหะนำโรค
|
5.
|
ทำลายต้นมะละกอตัวเมีย
|
ควรตัดต้นมะละกอตัวเมียทิ้งเพราะจะเป็นพาหะนำโรค แต่ไม่แสดงอาการเป็นโรค
|
6.
|
การปรับค่า pH
|
ใช้ปูนขาวหรือโดโลไมต์ หว่านรอบทรงพุ่ม มะละกอ
แล้วรดน้ำตาม เพื่อปรับค่า pH ให้เป็นกลางค่อนมาทางด่าง
|
การใช้กำจัดวัชพืช ในแปลงมะละกอ
ฉีดพ่นยาฆ่าหญ้าชีวภาพ
การาบูน่า กำจัด หญ้ารกในแปลงมะละกอ ห้ามใช้สารเคมีประเภทดูดซึมเด็ดขาด เพราะจะทำให้ต้นมะละกอแพ้ และเป็นไวรัสด่างวงแหวนตามมาในที่สุด
ทำไมต้องกำจัดหญ้าในแปลงมะละกอ ขณะที่มะละกอเป็นไวรัส
- หญ้าที่รก
จะเป็นที่อยู่อาศัยของแมลงพาหะนำโรคไวรัสมะละกอ เช่นแมลงหวี่ขาว เพลี้ยอ่อนชนิดต่างๆ
-หญ้าที่รก จะไปแย่งอาหารมะละกอ
เพราะมะละกอเป็นพืชที่มีรากผิวดินเป็นส่วนใหญ่ เมื่อหญ้าไปแย่งอาหารจะทำให้
รากมะละกอดูดหาอาหารได้ไม่เต็มที่ ทำให้ต้นมะละกออ่อนแอ เป็นโรคได้ง่าย
การปรับค่าความเป็นกรดเป็นด่าง(pH)
ให้เหมาะสมกับความต้องการของมะะละกอ
ค่าความเป็นกรดเป็นด่างที่เหมาะสมในการเจริญเติบโตของมะละกอคือ
ช่วง pH
6.0-7.0
ในสภาพที่ดินเป็นกรด ค่าpH ต่ำกว่า 6.0
จะทำให้ระบบรากของมะละกอเจริญเติบโตไม่ดี
เป็นสาเหตุหนึ่งที่จะทำให้ต้นมะละกอไม่แข็งแรงเกิดโรคได้ง่าย
การปรับค่าความเป็นกรดเป็นด่างให้เหมาะสมจะช่วยส่งเสริมการกระจายของรากมะละกอ
เมื่อรากเจริญเติบโตดี ต้นมะละกอก็จะแข็งแรงไม่เป็นโรค
การใช้โดไลไมต์หรือปูนขาวโรยรอบทรงพุ่ม
จะช่วยปรับค่าเป็นกรดเป็นด่างของดิน และเพิ่มธาตุอาหารรองให้กับพืช
บล็อก สารอินทรีย์ป้องกันและหยุดการแพร่ระบาดของโรค
บลอ๊ก(block)
สารป้องกันและกำจัดโรคพืชชนิดพิเศษ
ใช้หยุดการแพร่ระบาดของโรคต่างของพืชได้ดี ใช้ป้องกันการเกิดโรคเชื้อราในพืชทุกชนิดทำให้พืชเกิดภูมิคุ้มกันตัวเองขึ้นเองโดยหลักทางธรรมชาติ
ไม่มีสารพิษสารเคมีตกค้างในพืช
ใช้ป้องกันการเกิดโรคเชื้อราในพืชทุกชนิดทำให้พืชเกิดภูมิคุ้มกันตัวเองขึ้นเองโดยหลักทางธรรมชาติ
ไม่มีสารพิษสารเคมีตกค้างในพืช
ใช้ได้ทั้งในพืชผัก พืชไร่ พืชสวน
ไม้ผลต่าง ๆ มะละกอ ส้มชนิดต่าง ๆ ไม่มีผลข้างเคียงต่อพืช
สัตว์ และสิ่งแวดล้อม ไม่ทำลายสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในดิน
เช่นใส้เดือนดิน จุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์ มีระสิทธิภาพในการป้องกันโรคพืชได้นาน
ไม่มีส่วนผสมของสารเคมีอันตราย
อัตราการใช้และวิธีการใช้
ใช้ราดบริเวณโคนต้นและรอบทรงพุ่มอัตรา 30- 50 กรัม ผสมน้ำ20
ลิตร หรือ 1 ซองผสมน้ำ 200 ลิตร
ใช้ราดโคนต้นพืชที่เป็นโรคเพื่อป้องกัน และ หยุดการระบาดของโรคพืช
ใช้ฉีดพ่นทางใบ 20-30 กรัม(1-2
ช้อนโต๊ะ) ผสมน้ำ 20 ลิตร ควรใช้ร่วมกับสารดูดซึมนำทาง2
ฉีดพ่นทางใบให้ฝอยทุก 5 -7 วัน
สามารถผสมร่วมไปกับปุ๋ยทางใบหรือสารอื่นได้ทุกชนิด
วัคซีนพืช ปราณฟ้า (Pranpha)
วัคซีนพืช
ปราณฟ้า เป็นสารอินทรีย์สกัด ประกอบด้วยกรดอะมิโนชนิดต่างๆ มีผลในการสร้างภูมิคุ้มกัน ทำให้พืชแข็งแรง ต่อต้านไวรัสโรคพืชได้ดี
ซึ่งเมื่อพืชได้รับในอัตราส่วนที่เหมาะสม
จะทำให้พืชสารสารภูมิคุ้มกันขึ้นมาป้องกันตัวเองโดยหลักการของธรรมชาติ
ประโยช์ขอวัคซีนพืชปราณฟ้า
-
กระตุ้นการทำงาน ในระดับเซลล์ ทำให้พืชหลั่งสารทางธรรมชาติออกมาต้านโรคพืช
-ช่วยให้พืชปรับตัวได้ดีในสภาพอากาศไม่เหมะสม
ระบาด
พืชก็ไม่แสดงอาการของโรค
-
ช่วยให้พืชมีสร้างคุ้มกันตัวเอง เมื่อมีชื้อโรคแพร่
-เสริมสร้างความแข็งแรงให้ต้นพืช
จากภายใน
|
ปราณฟ้า(pranpha) เป็นผลิตภัณฑ์ป้องกันโรคในมะละกอที่ใช้ได้ผลกันมานับ 10 ปี
เป็นผลิตภัณฑ์ที่สกัดด้วยหลักการทางเกษตรอินทรีย์ ไม่มีมีส่วนผสมของสารเคมีใด ๆ
เมื่อพืชได้รับสารปราณฟ้าเข้าไป พืชก็ได้รับสัญญาณว่า มีเชื้อโรคเข้ามาโจมตีแล้ว
พืชก็จะหลั่งสารที่มีอยู่ในธรรมชาติของต้นพืชออกมาต้านทานโรคพืช
อัตราการใช้และวิธีการใช้
สำหรับการรักษา : ให้ฉีดพ่นวัคซีนพืชปราณฟ้า อัตรา 30 ซีซี.ทุก
5-7 วัน ติดต่อกัน ประมาณ 3-5 ครั้งมะละกอจะแตกยอดใหม่ไม่แสดงอาการเป็นโรค แล้วจึง
ค่อยลดอัตราลงเหลือ 20 ซีซี. ฉีดพ่นทุก 7 วัน
สำหรับการป้องกัน : ให้ฉีดพ่นวัคซีนพืชปราณฟ้า อัตรา 20
ซีซี.ผสมน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทุก 7 วัน ตั้งแต่ มะละกอหลังปลูกลงดิน 21 วัน
ทำไมต้องใช้วัคซีนพืช
ปราณฟ้า(pranpha)
1. ภาวะของโลกที่เปลี่ยนไป
ฤดูกาลไม่แน่นอน ทำให้พืชปรับตัวไม่ค่อยจะทันทำให้พืชเป็นโรคได้ง่าย
2. การใช้สารเคมีต่าง ๆ
ทำให้พืชที่เราปลูกอ่อนแอลง เนื่องจากสารเคมีไปทำลายระบบภูมิคุ้มกันของพืช
3. การระบาดของแมลงพาหะโรคพืชอย่างรวดเร็ว
เช่นแมลงหวี่ขาว
4. การออกดอกออกผลตลอดเวลาของมะละกอ
ทำให้ต้นพืชอ่อนแอได้ง่าย เนื่องจากบางครั้งธาตุอาหารที่ได้รับไม่เพียงพอ
5. ภาวะความเป็นกรดเป็นด่างของน้ำและดินที่พืชได้รับก็มีผลต่อการอ่อนแอของพืชได้มากเช่นกันฉะนั้นเราควรสร้างภูมิคุ้มกันให้พืชที่เรารักอยู่เสมอ
ให้เขาพร้อมเสมอที่จะต้องสู้กับสิ่งเร้าภายในและภายนอกที่กระทบ
สมุนไพรต้านเชื้อรา เวตาเอ็กซ์ตรา (Wata
Extra)
สมุนไพรต้านเชื้อรา
เวตาเอ็กซ์ตรา
เป็นสารสกัดจากสมุนไพรหลายชนิด เช่น ข่า ขมิ้น ว่านน้ำ ฯลฯ
มีฤทธิ์ทำลายและยับยั้งการระบาดของเชื้อรา ในมะละกอ เช่นเชื้อรา ใบจุด
เชื้อราแอนแทรกโนส ราแป้งขาว เชื้อราอันก่อให้เกิดรากเน่าโคนเน่า
ประโยชน์
:
สารสำคัญในสมุนไพรช่วยหยุดยั้งการกระจายตัวของสปอร์เชื้อรา
ได้หลายชนิด
:
ช่วยป้องกันการเข้าทำลายของเชื้อรา สาเหตุของโรคพืชชนิดต่างๆ ได้ดี
:ลดการแพร่กระจายสปอร์ของเชื้อรา ทำให้เชื้อราไม่แพร่ระบาด
:สารออกฤทธิ์ในสมุนไพรจะการลุกลามของแผลที่เกิดจาการการทำลายของเชื้อราชนิดต่างๆ
เวตาเอ็กซ์ตรา เป็นสารสกัดจากสมุนไพร
สามารถฉีดพ่นได้ในช่วงก่อนการเก็บเกี่ยวโดยไม่มีสารพิษตกค้างต่อผลผลิต
ไม่เป็นพิษต่อเกษตรกรผู้ใช้ สัตว์เลี้ยง ไม่มีสารพิษตกค้างต่อสิ่งแวดล้อม
ในช่วงที่มะละกอเป็นไวรัส ภูมิคุ้มกันโรคของพืชจะลดต่ำลง ทำให้เชื้อราเข้าทำลายต้นมะละกอได้ง่าย เราจะต้องฉีดพ่น สมุนไพรต้านเชื้อราเวตาเอ็กซ์ตราอย่างสม่ำเสมอทุก 7 วัน จะช่วยทำลายเชื้อราที่ติดอยู่กับใบและต้น และผลของมะละกอ โดยเฉพาะอย่างเชื้อราใบจุด เชื้อราแอนแทรกโนส สารออกฤทธิ์จากสมุนไพรจะทำให้เชื้อราหยุดแพร่ระบาดและช่วยเพิ่มภูมิคุ้มกันโรคให้กับต้นพืชโดยหลักการทางธรรมชาติ
อัตราการใช้และวิธีการใช้
ใช้สมุนไพรต้านเชื้อราเวตาเอ็กซ์ตรา
อัตรา 30-50 ซีซี.ผสมน้ำ 20 ลิตร
ฉีดพ่นทุก 7 วัน ฉีดพ่นร่วมกับสารช่วยการดูดซึมนำทางทาง2อัตรา 3 ซีซี.
กรณีเกิดอาการเน่าของผลมะละกอ
ให้ใช้เวตาเอ็กซ์ตรา 50 ซีซี.ผสมน้ำ20 ลิตร ผสมสารช่วยการดูดซึมนำทางทาง2อัตรา 5
ซีซี.ฉีดพ่นไปที่ผลของมะละกอ จะช่วยลดการระบาดของโรคได้อย่างรวดเร็ว
นำทาง 2 สารช่วยการดูดซึมชนิดพิเศษ
ประโยชน์
ช่วยทำให้สารต่าง ๆ แทรกซึมและแผ่กระจายสู่ใบพืชได้อย่างรวดเร็ว
ลดการใช้สารเคมีลง 50 %
เพิ่มการออกฤทธิ์ของปุ๋ยเคมี อาหารเสริมต่าง ๆ และสารเคมีชนิดต่าง ๆ
สามารถฉีดพ่นได้ตลอดวันไม่ต้องรอให้ปากใบพืชเปิด
อัตราการใช้
1-3 ซี.ซีผสมน้ำ
20 ลิตร หรือ 10 ซี.ซี.ผสมน้ำ 200 ลิตร
3-5
ซีซี.ผสมน้ำ 20 ลิตร สำหรับ ผสมในยาฆ่าหญ้า ทุกชนิด
วิธีการใช้
หลังการผสมปุ๋ยหรือสารเคมีต่าง ๆ ในถังแล้วเติม
นำทาง 2 จากนั้นคนให้ทั่ว แล้วฉีดพ่นให้เป็นละอองฝอยจนทั่ว
ทำไมต้องใช้ใช้นำทาง2
ช่วยในการดูดซึม
- นำทาง2 จะนำพาสาร ปุ๋ย ยา อาหารเสริมต่าง ๆ เข้าสู่เซลพืชอย่างรวดเร็วโดยไม่ต้องอาศัยปากใบ
- สามารถฉีดพ่นได้ตลอดเวลา ไม่ต้องรอให้ปากใบเปิดตอนช่วงเข้าหรือช่วงเย็นเท่านั้น
- การใช้นำทาง2 ช่วยในการดูดซึม จะทำให้ประสิทธิภาพของปุ๋ยยาและสารต่าง ๆ มีประสิทธิภาพมากขึ้นเพราะสามารถแทรกซึมเข้าสู่ใบพืชได้มากขึ้น
- ขณะที่ฉีดพ่นเสร็จแล้วเกิดฝนตก ก็ไม่เป็นไรเพราะนำทางได้นำสารต่าง ๆ เข้าสู่เซลพืชเรียบร้อยแล้ว
- ทำให้สารออกฤทธิ์ต่าง ๆ สามารถออกฤทธิ์ได้นาน คงทนและ เต็มประสิทธิภาพ
สาธิต การใช้สารช่วยการดูดซึมนำทาง2
รายการ
ราคา ผลิตภัณฑ์คุณภาพ
ลำดับที่
|
รายการ
|
ประโยชน์
|
ราคา
|
โปรโมชั่น
|
1
|
บล็อก
|
สารอินทรีย์หยุดการแพร่ระบาดของโรคพืช
|
ขนาด 300 กรัม 250 บาท
|
ซื้อ 5 ซองแถม 1ซอง
|
2
|
วัคซีนพืชปราณฟ้า
|
เสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคให้กับพืช
|
ขนาด 1 ลิตร 1100 บาท
|
|
3
|
เวตาเอ็กซ์ตรา
|
สมุนไพรธรรมชาติต้านเชื้อราโรคพืช
|
ขนาด 1 ลิตร 600 บาท
|
|
4
|
นำทาง2
|
สารช่วยการดูดซึม
|
ขนาด 100 ซีซี.300 บาท
|
ซื้อ 2 แถม 1 ขวด
|
5
|
การาบูน่า
|
ยาฆ่าหญ้าอินทรีย์ชีวภาพ
|
ขนาด 1 ลิตร 490 บาท 2 ลิตร 900 บาท ขนาด
4 ลิตร 1700 บาท
|
ซื้อขนาด 4 ลิตร แถมฟรีสารช่วยการดูดซึมนำทาง2 มูลค่า
300 บาท
|
ชุดบริหารจัดการ
ไวรัสมะละกออย่างได้ผล
การจัดส่ง: จัดส่งผ่านขนส่งด่วนเคอรี่เอ็กซ์เพรส แบบเก็บเงินปลายทาง เพียงแจ้ง ชื่อ
ทีอยู่ พร้อมเบอร์โทรศัพท์แล้วรอรับสินค้า ที่บ้าน ภายใน 2 วัน
ติดต่อสั่งซื้อสินค้า : ชมรมเกษตรอินทรีย์ก้าวหน้า โทร 0860596790 Line ID : aoacthai
ตัวอย่างเกษตรผู้ใช้
วิธีการและผลิตภัณฑ์อย่างได้ผล
สวนมะละกอ คุณน้ำ
นันท์นภัส แทวกระโทก 15 ม.2 บ้านโคกพลาง ต.หนองบุญนาค อ.หนองบุญมาก จ.นครราชสีมา
นันท์นภัส แทวกระโทก 15 ม.2 บ้านโคกพลาง ต.หนองบุญนาค อ.หนองบุญมาก จ.นครราชสีมา
ก่อนใช้ : มะละกอ
เป็นโรคไวรัสด่างวงแหวนกำลังลุกลามไปทั้งสวน
หลังจากใช้ : ชุดบริหารจัดไวรัสมะละกอ
มะละกอที่กำลังเป็นโรค หยุดการระบาด ต้นที่เป็นโรค หลังฉีดพ่น 3 ครั้ง
ก็แตกยอดมาใหม่ ไม่แสดงอาการเป็น โรค ปัจจุบันเก็บเกี่ยวมะละกอได้เป็นปกติ
ก่อนใช้
หลังใช้
สวนมะละกอ
คุณณรงค์ ภัทรโภคาธร 291 ม.วิเศษสุขนคร18/14 ซ.ประชาอุทิศ79
แขวง ทุ่งครุ่ เขต. ทุ่งครุ่ กรุงเทพฯ
คุณณรงค์ ภัทรโภคาธร 291 ม.วิเศษสุขนคร18/14 ซ.ประชาอุทิศ79
แขวง ทุ่งครุ่ เขต. ทุ่งครุ่ กรุงเทพฯ
ผมทำงานประจำอยู่ กรุงเทพ
สวนมะละกออยู่ อ.ปากท่อ จ.ราชบุรี
ปลูกมะละกอฮอลแลนด์โดยได้เมล็ดพันธุ์และต้นพันธุ์มาจากล้ง รับซื้อผลไม้
ที่จังหวัดนครปฐม
ผมไม่มีประสบการณ์ในการปลูกมะละกอ ปลูกตามที่ล้ง แนะนำ ใช้ปุ๋ยใช้ยา ตามที่ล้งขายมาให้
ตอนแรกมะละกอเจริญเติบโตดีมาก แต่หลังจากปลูกประมาณ 2 เดือนกว่าๆ มีอาการหงิกงอ
ยอดเหลือง เกือบครึ่งแปลง ปรึกษาล้ง ล้งบอกว่า เป็นไวรัส ให้รีบทิ้งทั้งแปลง ผมลงทุนไปเยอะมาก ยังไม่อยากไถทิ้ง
เลยต้องหาทุกวิธีการในการแก้ปัญหา สุดท้าย ลองใช้ยาและคำแนะนำของ
ชมรมเกษตรอินทรีย์ก้าวหน้า ฉีดพ่นตามสูตรที่เขาแนะนำไป 3 ครั้ง อาการมะละกอที่เหลืองยอดหงิก
ก็แตกยอดใหม่ และมีอาการเขียวขึ้นเรื่อย ๆ ได้ฉีดพ่นทุก 7 วัน ปัจจุบัน มะละกอ
สามารถเก็บผลผลิตได้แล้วครับ
ก่อนใช้ : มะละกอยอดหงิก เหลืองไปเกือบครึ่งแปลง
หลังใช้ : อาการดีขึ้น
จนสามารถเก็บผลผลิตได้
ปัจจุบันมะละกอชุดใหม่ ใช้หลักการป้องกันโรคตั้งแต่เริ่มต้น ใช้วัคซีนพืชปราณฟ้า อัตรา 20 ซีซี.ผสมบล็อก 20 กรัม ฉีดพ่นทั้งทางใบและลงดินทุก 7 วันเลยครับ ต้นเล็กแข็งแรงดีไม่เป็นโรคเลย ฉีดพ่นหลังปลูกได้ 21 วัน
สวนมะละกอ คุณวันเพ็ญ
รัตนอรุณ
8 ม.1 ต.ดีหลวง อ.สะทิ้งพระ จ.สงขลา
ใช้ผลิตภัณฑ์ และทำตามคำแนะนำ ของชมรมเกษตรอินทรีย์ก้าวหน้า
มาตลอด ตั้งแต่ต้นเล็ก ยันติดดอกออกผล
ที่สวนไม่เน้นใช้สารเคมี
ปุ๋ยส่วนใหญ่จะใช้ขี้ไก่เป็นหลัก ใส่ตั่งแต่ต้นเล็กยันโต เน้นทำเกษตรแบบอินทรีย์ เกษตรปลอดสารพิษเป็นหลัก
ที่สวนไม่เป็นไวรัสเลย
เนื่องจากใช้ผลิตภัณฑ์ตามคำแนะนำของชมรมฯ และฉีดพ่น วัคซีนพืชป้องกันไวรัส ด่าง
วงแหวนมะละกอ ตั้งแต่มะละกอต้นเล็กๆ คือ ใช้ตั้งแต่ มะละกอ 1 เดือน
จนมะละกอเก็บเกี่ยว จะฉีดพ่น ชุดป้องกันกำจัดไวรัส
ทุก 7-10 วัน ไม่เคยขาด
เน้นฉีดพ่นช่วงเช้า เพราะช่วงเย็น ภาคใต้ฝนชอบตกบ่อยๆ
ทำให้ลำบากในการฉีดพ่น
ช่วงมะละกอต้นเล็ก จะใช้ วัคซีนพืชปราณฟ้า อัตรา 200
ซีซี.ผสมน้ำ 200
ลิตร ผสม บล็อก 1 ซอง(300กรัม) ผสมสารช่วยการดูดซึมนำทาง2 อัตรา 30
ซีซี ร่วมกับ สมุนไพรไล่แมลง ทำเอง
ฉีดพ่น ทางใบและฉีดพ่นลงดินทุก 7 วัน
เมื่อมะละกอเริ่มติดผลเล็ก ๆ
แล้วจะใช้ตามสูตรของชมรมฯครบชุดเลย คือ
ใช้สมุนไพรต้านเชื้อรา เวตาเอ็กซ์ตราร่วมด้วย เพราะที่บ้านฝนตกบ่อย ฉีดพ่นครบชุด
ไม่เป็นเชื้อราและโรคไวรัสเลย
ใช้ตามสูตรชมรมฯ เก็บผลผลิตได้ตลอดทั้งปี
ชุดทดลอง ประกอบด้วย
วัคซีนพืชปราณฟ้า 1 ลิตร
สมุนไพรต้านเชื้อรา 1 ลิตร
บล็อก 3 ซอง สารช่วยการดูดซึม 1 ขวด
1ชุดผสมน้ำได้ 600 ลิตร ราคา
รวมค่าจัดส่ง 2950 บาท เก็บเงินปลายทาง
อัตราการใช้
ให้ฉีดพ่นวัคซีนพืชปราณฟ้า อัตรา 30 ซีซี.ผสมน้ำ20
ลิตรร่วมกับสารช่วยการดูดซึมนำทาง2 อัตรา 3 ซีซี. ผสมบล็อก 30 กรัม ผสม
สมุนไพรต้านเชื้อราเวตาเอ็กซ์ตราอัตรา 30 ซีซี. ทุก ๆ 5-7 วัน อย่างน้อย 3-5 ครั้ง
แล้วคอยสังเกตอาการ เมื่ออาการดีขึ้นดีแล้ว
ให้ฉีดพ่น 10 วันต่อครั้ง
การจัดส่ง: จัดส่งผ่านขนส่งด่วนเคอรี่เอ็กซ์เพรส แบบเก็บเงินปลายทาง เพียงแจ้ง ชื่อ
ทีอยู่ พร้อมเบอร์โทรศัพท์แล้วรอรับสินค้า ที่บ้าน ภายใน 2 วัน
ติดต่อสั่งซื้อสินค้า : ชมรมเกษตรอินทรีย์ก้าวหน้า โทร 0860596790 Line ID : aoacthai